welcome to mathematic blogger

วันอังคารที่ 27 มกราคม พ.ศ. 2558

บทที่3 ความน่าจะเป็น


ความรู้เดิมที่ผู้เรียนต้องทราบ
1. ข้อความคาดการณ์ เป็นกระบวนการที่ใช้การสังเกตหรือการทดลองหลายๆครั้ง แล้ว
รวบรวมข้อมูลเพื่อหาแบบรูปที่จะน าไปสู่ข้อสรุป ซึ่งเชื่อว่ามีความเป็นไปได้มากที่สุด แต่ยังไม่ได้พิสูจน์
ว่าเป็นจริง อ่านเพิ่มเติม

บทที่2 อัตาส่วนตรีโกณมิติ


ทบทวนสามเหลี่ยมคล้าย
1.  สามเหลี่ยม 2 รูป  ถ้ามีมุมเท่ากัน 3 มุม  มุมต่อมุมแล้ว  เราเรียก  สามเหลี่ยม 2 รูปนั้นว่าเป็น  “ สามเหลี่ยมที่คล้ายกัน
2.  ถ้าสามเหลี่ยม 2 รูปคล้ายกันแล้ว  อัตราส่วนของความยาวของด้านที่อยู่ตรงข้ามมุมที่เท่ากัน  จะเท่ากัน อ่านเพิ่มเติม


บทที่1 เลขยกกำลัง


รากที่ n ของจำนวนจริง

    บทนิยาม  ให้  a , b  เป็นจำนวนจริง  และ   n  เป็นจำนวนเต็มบวกที่มากกว่า  1

 b  เป็นรากที่  n   ของ  a  ก็ต่อเมื่อ  bกำลัง n = a... อ่านเพิ่มเติม


เลขยกกําลังที่มีเลขชี้กําลังเป็นจํานวนตรรกยะ

     สำหรับเลขยกกำลังที่เป็นที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนตรรกยะ ก็คือ เลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นเศษส่วน เพราะ...


ฟังก์ชั่นขั้นบันได

  ฟังก์ชันขั้นบันได หมายถึง ฟังก์ชันที่มีโดเมนเป็นสับเซตของจำนวนจริง และมีค่าของฟังก์ชันเป็นค่าคงตัวเป็นช่วงๆ มากกว่าสองช่วง กราฟของฟังก์ชันนี้มีลักษณะคล้ายขั้นบันได ตัวอย่างของ... อ่านเพิ่มเติม

ฟังก์ชั่นค่าสัมบูรณ์๋


ฟังก์ชันค่าสัมบูรณ์ที่อยู่ในรูป y = l x - a l + c เมื่อ a และ c เป็นจำนวนจริง
ตัวอย่างที่ 1 จงเขียนกราฟและหาโดเมนและเรนจ์ของ f(x) = l x อ่านเพิ่มเติม


ฟังก์ชั้นเอกซ์โพแนนเชียล


จากบทนิยามของฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล ฟังก์ชันนี้มีรูปแบบในรูปของเลขยกกำลัง โดยฐานของมันต้องมากกว่า  อ่านเพิ่มเติม...

ฟังก์ชั่นกำลังสอง


ฟังก์ชันกำลังสอง คือ ฟังก์ชันที่อยู่ในรูป y = ax2 + bx + c เมื่อ a, b, c เป็นจำนวนจริงใดๆ และ a  0 ลักษณะของกราฟของฟังก์ชันขึ้นอยู่กับค่าของ a, b และ cเมื่อ a เป็นจำนวนบวกหรือจำนวนลบ จะทำให้ได้กราฟเป็นอ่านเพิ่มเติม